ผลการนำเสนอโปสเตอร์ วทท.เพื่อเยาวชน ครั้งที่ 11

งานประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเยาวชน หรือ วทท.เพื่อเยาวชน ครั้งที่ 11 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 10-11 มิถุนายน 2559 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา มีผลการประกวดตัดสินการนำเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ดังนี้

สาขาชีววิทยา

  • รางวัลชนะเลิศ นายกานต์ อิ่มวัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 นายพชร สิทธิชีวภาค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 นางสาวธนภรณ์ เพ็ชร์รื่น มหาวิทยาลัยมหิดล

สาขาเคมี

  • รางวัลชนะเลิศ นางสาวศิริภรณ์ ชัยเมืองชื่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 นายณัฐวุฒิ ยันตรวัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 นายธฤต เลิศวิริยานุภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

สาขาฟิสิกส์และธรณีศาสตร์

  • รางวัลชนะเลิศ นายภานุวัฒน์ ศรีสำราญ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 นายจอมพจน์ วงศ์เพชรอักษร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 นายหริพันธ์ พิลาทอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สาขาคณิตศาสตร์

  • รางวัลชนะเลิศ Ms. Norika Narimatsu and Ms. Ayaka Kosai, Kumamoto Prefectural Uto Junior and Senior High School
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 นายชัชชัย น้อยทับทิม มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 นายธเนศ มากโฉม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รางวัลชมเชย

สาขาชีววิทยา

  • นายศิรัช เลิศจินตนาการกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • Mizuki Nakamura and Ruixin Zang, Ikeda Junior & Senior High School
  • นายกรณวิชญ์ โอภาสเสถียร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • นางสาวสิริอร อักษรทอง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • นายศิวัช เรืองเริงกุลฤทธิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • นางสาวธนัชกรณ์ อัศวศรีวรนันท์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • Aaron James Feliciano, Philippine Science High SChool-Central Luzon Campus
  • นางสาวนวพร ศรีทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • นางสาวณัฐธยาน์ ชูติกมลธรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นางสาวภัทธิดา คงสมบูรณ์โชค มหาวิทยาลัยศิลปากร

สาขาเคมี

  • นางสาวธัญพร เต็งสุทธิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นางสาวปุณยาพร พงษ์สุวรรณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • นายณุกร เปลี่ยนปาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • นายอุกฤษ เกเย็น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • นายไชยอนันต์ พันธุ์ศักดานนท์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • นายนนทรินทร์ รูปสูง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นางสาวสุจิตรา ตันศรีชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • นายภัทรพล รอดละมูล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • นายงสาวณัฐกาญจน์ พบสุข มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นายชนาธิป ดวงทา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สาขาฟิสิกส์และธรณีศาสตร์

  • นายกฤษณะ สระแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • นายนาวี จรูญโชคอนันต์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • นายศุภณัฐ สังข์เพ็ชร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • นายกฤตวัตร พูลสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • Linh Hoang Thuy, Hoang To Viet and Kiem Le Ba, Dao Duy Tu High School

สาขาคณิตศาสตร์

  • นางสาวฟองจันทร์ วรรณลุขขี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • นายสรวิศ เอกนิพิฐสริ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • นางสาวอารียา สิริเศรฐนันท์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • นายณัฐ ธนนิมิตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เกณฑ์การให้คะแนนการนำเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ วทท.เพื่อเยาวชน ครั้งที่ 11 โดยกรรมการอย่างน้อย 2 ท่านต่อโปสเตอร์

  • รูปแบบสื่อ 5 คะแนน (2 องค์ประกอบ)
    • มีสาระสำคัญครบถ้วน
    • สวยงามดึงดูดความสนใจ
  • บุคลิคภาพ 5 คะแนน (3 องค์ประกอบ)
    • แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
    • ใช้ภาษา ท่าทางที่เหมาะสม
    • น้ำเสียง และระดับเสียงที่ใช้ สื่อความได้ชัดเจน
  • ข้อมูลด้านวิชาการ 5 คะแนน (2 องค์ประกอบ)
    • วิธีการดำเนินงานวิจัยถูกต้องและเหมาะสม
    • การวิเคราะห์และสรุปผลงานวิจัยเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล
  • ความเข้าใจในเนื้อหา 5 คะแนน (2 องค์ประกอบ)
    • เข้าใจเนื้อหา และมีการลำดับหัวข้อชัดเจน
    • ตอบคำถามได้ชัดเจนและตรงประเด็น
  • การตรงต่อเวลา 0 คะแนน (1 องค์ประกอบ)
    • ใช้เวลาเหมาะสม ตรงตามเวลาที่กำหนด (หากไม่แสดงความรับผิดชอบในหน้าที่ อยู่นำเสนอโปสเตอร์ในเวลาที่กำหนด จะไม่ได้รับการประเมินในด้านอื่น ๆ เลย)

รางวัลการประกวดโปสเตอร์

  • รางวัลชนะเลิศ
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
  • รางวัลชมเชย (10% จากจำนวนโปสเตอร์ในสาขานั้น ๆ)
STT4Youths_11_Honorable_Mention_Prize_20160611

รางวัลชมเชย (แก้วคณะวิทยาศาสตร์ มหิดล)

นอกจากนี้ยังมีการให้นักศึกษาที่ร่วมกิจกรรมในการนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย ซึ่งมีเกณฑ์ดังนี้ (แต่ไม่ใช่การประกวด)

  • บุคลิคภาพ 25% (3 องค์ประกอบ)
    • การแต่งกายสุภาพ เรียบร้อย ท่าทางเหมาะสม
    • สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว (เป็นธรรมชาติ ไม่พูดแบบท่อง)
    • การพูดมีน้ำเสียงชัดเจน และมีระดับเสียงที่ดึงดูดผู้ฟัง
  • รูปแบบสื่อ 25% (1 องค์ประกอบ)
    • สื่อมีความชัดเจน และดึงดูดความสนใจ (ขนาดอักษรพอเหมาะ การใช้สี และองค์ประกอบโดยรวมของสื่อที่นำเสนอ ภาพประกอบมีแหล่งอ้างอิง)
  • เนื้อหาด้านวิชาการ 25% (3 องค์ประกอบ)
    • หัวข้อวิจัยน่าสนใจและเหมาะสมกับระดับที่ศึกษา
    • การออกแบบการทดลองสอดคล้องกับวัตถุประสงค์/เป้าหมาย
    • การออกแบบโครงงานดี ได้ผลตามเป้าหมาย รวมทั้ง โครงงานมีประโยชน์ สามารถต่อยอดองค์ความรู้ได้
  • ความเข้าใจในเนื้อหาและการนำเสนอ 25% (3 องค์ประกอบ)
    • ผู้นำเสนอสามารถอธิบายเนื้อหาและลำดับขั้นตอนให้ผู้ฟังเข้าใจได้ดี
    • ผู้นำเสนอเข้าใจในโครงงานเป็นอย่างดี สามารถตอบคำถามได้กระชับและตรงประเด็น
    • สามารถระบุวัตถุประสงค์ สาระสำคัญของโครงงาน และสรุปผลได้ชัดเจน
  • การตรงต่อเวลา 1 องค์ประกอบ
    • ใช้หักคะแนนจากภาพรวม หากใช้เวลาเกิน 2 นาที = ดี 2-5 นาที = พอใช้ หากเกิน 5 นาที ควรปรับปรุง
  • ข้อเสนอแนะ/ สิ่งที่ควรปรับปรุง
    • ตามที่กรรมการระบุ

ที่มา: งานการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (เจ้าภาพร่วม)

 

เกี่ยวกับ อ.ดร.ณัฐพล อ่อนปาน

อาจารย์ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เรื่องนี้ถูกเขียนใน การนำเสนอ, วทท.เพื่อเยาวชน, เกณฑ์ตัดสิน และติดป้ายกำกับ , , , , , คั่นหน้า ลิงก์ถาวร

ใส่ความเห็น